โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบเก็บพลังงานไฟฟ้าด้วยโซลาร์เซลล์แบบติดตามความเข้มแสง ระบบจะค้นหาตำแหน่งที่เซลล์แสงอาทิตย์สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้มากที่สุด ณ ช่วงเวลานั้นๆ และใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมมอเตอร์เพื่อสแกนหาค่าความเข้มแสงที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งจะทำการสแกนแบบ 2 มิติ โดยทำการสแกนในระนาบ X, Y ทุกๆ 90 องศา จนครบ 360 องศา และสแกนในระนาบ X, Y ทุกๆ 90 องศา จนครบ 180 องศา จึงจะนำข้อมูลของค่าความเข้มแสงในแต่ละตำแหน่งมาประมวลผลด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ว่าตำแหน่งใดมีค่าความเข้มแสงมากที่สุด เมื่อได้ค่าความเข้มแสงสูงสุด ไมโครคอนโทรลเลอร์จะสั่งให้มอเตอร์หมุนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ไปยังตำแหน่งค่าความเข้มแสงสูงสุด ขณะเดียวกันก็จะชาร์จประจุลงแบตเตอรี่จากการทดลองใช้เซลล์แสงอาทิตย์เป็นตัวตรวจจับค่าความเข้มแสง โดยการเก็บค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ ขณะติดตั้งแผลเซลล์แสงอาทิตย์อยู่กับที่และแผงเซลล์แสงอาทิตย์เคลื่อนที่ตามความเข้มแสงเป็น เมื่อเปรียบเทียบค่าพลังงานไฟฟ้า จะเห็นได้ว่าค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีการเคลื่อนที่ติดตามความเข้มแสงสามารถเก็บพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยได้มากกว่าการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์อยู่กับที่โดยเฉลี่ย 6 เปอร์เซ็นต์
3. ระบบกักเก็บพลังงานด้วยเซลล์เชื้อเพลิงร่วมกับพลังงานลม (Wind Hydrogen Hybrid System) นับเป็นเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานไฟฟ้ารูปแบบใหม่ ที่ กฟผ.
EK SOLAR มุ่งเน้นการนำเสนอโซลูชั่นแบตเตอรี่กักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง รองรับการใช้งานทั้งภายในประเทศและในระดับสากล ด้วยเทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์ที่ทันสมัย ช่วยให้การแปลงพลังงานสะอาดมีความเสถียรและประหยัดยิ่งขึ้น
เราจัดจำหน่ายตู้พลังงานกลางแจ้งที่ออกแบบมาเพื่อต้านทานทุกสภาพอากาศ เหมาะสำหรับโครงการพลังงานขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ รองรับการติดตั้งในไซต์งานที่ต้องการความยืดหยุ่นและความทนทานสูง
ด้วยโซลูชั่นการจัดการพลังงานสำหรับไซต์งาน EK SOLAR มั่นใจได้ว่าคุณจะได้รับการจัดการไฟฟ้าที่ต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพสูง ลดต้นทุนพลังงานระยะยาว พร้อมสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสีเขียวอย่างยั่งยืน