การต่ออนุกรมคือการเอา + ต่อ – หรือ – ต่อ + หากพูดแบบนี้ยังไม่เห็นภาพ มาดูตัวอย่างกันดีกว่า สมมติว่าเรามีแบตเตอรี่อยู่ 3 ก้อน ในแบตเตอรี่ 1 ก้อน จะมีแรงดันอยู่ที่ 3.2V 100Ah (ใครยังไม่เข้าใจ Ah ไม่เป็นไรนะ) มีความจุแบตเตอรี่ 320Wh (P = I x V) ในการต่ออนุกรม สิ่งที่อยากให้สังเกตุก่อนคือ volt หรือแรงดันของระบบ. . ซึ่งการต่ออนุกรมและขนานเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อการต่อระบบโซล่าเซลล์นะครับ ส่วนการเชื่อมต่อไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆจะเป็นการต่อแบบขนานเพื่อที่จะให้ volt มันคงที่นะ ซึ่งแบตเตอรี่แต่ละเคมีก็จะมี volt แตกต่างกัน. . การต่อวงจรอนุกรม ขนาน มีความสำคัญกับงานระบบโซล่าเซลล์ off-grid อย่างมากทั้งการต่อแผงโซล่าเซลล์ และการต่อแบตเตอรี่ ซึ่งหลักการต่อทั้งสองอย่างเหมือนกัน. . ทีนี้มาดูที่แบตก้อนเดิมทุกอย่าง แต่เปลี่ยนเป็นต่อขนาน โดยเอา + ต่อ + และ – ต่อ – แล้วเอาด้าน + และ – ไปต่อเข้าวงจร ตามที่สอนไปตอนต้น แบบนี้จะเรียกว่าวงจรขนาน ซึ่งการต่อขนานมีข้อแตกต่างจากอนุกรมคือ “volt” เท่าเดิม. สังเกตุว่าการต่อแผงโซล่าเซลล์ทั้งสองแบบนี้ จะได้ค่าของกำลังไฟฟ้าออกมาเท่ากันคือ (24V*2.5A) หรือ (12V*5A) = 60 วัตต์ (ตัวอย่างแผงที่ยกมา โซล่าเซลล์หนึ่งแผงจะมีกำลังไฟฟ้า 30 วัตต์)ตามสูตรพื้นฐานไฟฟ้าง่ายๆคือ P=V*I โดย P=กำลังไฟฟ้า (วัตต์), V=แรงดันไฟฟ้า (โวลท์) , I=กระแสไฟฟ้า (แอมป์)
แผงโซล่าเซลล์โพลีคริสตัลไลน์ ผลิตได้ต่อแผงเท่ากับ 250 W ... ต้องทําการสลับไฟฟ้าและไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ สามารถแสดงลักษณะ ...
EK SOLAR มุ่งเน้นการนำเสนอโซลูชั่นแบตเตอรี่กักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง รองรับการใช้งานทั้งภายในประเทศและในระดับสากล ด้วยเทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์ที่ทันสมัย ช่วยให้การแปลงพลังงานสะอาดมีความเสถียรและประหยัดยิ่งขึ้น
เราจัดจำหน่ายตู้พลังงานกลางแจ้งที่ออกแบบมาเพื่อต้านทานทุกสภาพอากาศ เหมาะสำหรับโครงการพลังงานขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ รองรับการติดตั้งในไซต์งานที่ต้องการความยืดหยุ่นและความทนทานสูง
ด้วยโซลูชั่นการจัดการพลังงานสำหรับไซต์งาน EK SOLAR มั่นใจได้ว่าคุณจะได้รับการจัดการไฟฟ้าที่ต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพสูง ลดต้นทุนพลังงานระยะยาว พร้อมสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสีเขียวอย่างยั่งยืน